สถาบันการเงินที่ติดต่อประจ�ำ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ที่อยู่ : เลขที่ 333 ถนนสีลม แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : 0-2230-2328, 0-2230-2295, 0-2626-3646 และ 0-2353-5421 ธนาคารกรุงไทย จ� ำกัด (มหาชน) ที่อยู่ : เลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2208-4845-47 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ� ำกัด (มหาชน) ส� ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1222 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 สถานที่ติดต่อ : เลขที่ 550 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0-2296-3999 และ 0-2296-4776 ธนาคารกสิกรไทย จ� ำกัด (มหาชน) ส� ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 10140 สถานที่ติดต่อ : เลขที่ 400/22 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2470-3074 ธนาคารไทยพาณิชย์ จ� ำกัด (มหาชน) ที่อยู่ : เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2544-5740 ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จ� ำกัด (มหาชน) ที่อยู่ : เลขที่ 100 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : 0-2724-8989 และ 0-2724-8842 ที่บริษัทฯ ได้จ่ายชดใช้ให้โจทก์แล้วก่อนหน้านี้เป็นจ� ำนวน 24 ล้านบาท และส่วนที่เหลือบริษัทฯ ได้น� ำเงินไปวางที่ศาลจังหวัดระยองในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมีโจทก์บางรายยื่นอุทธรณ์ค� ำพิพากษาของ ศาลจังหวัดระยอง และบริษัทฯ ได้ยื่นค� ำแก้อุทธรณ์ต่อศาลจังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2562 ต่อมาเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2563 ศาลจังหวัดระยองได้ส่งหมายนัดฟังค� ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2 ในวันที่ 19 มีนาคม 2563 และศาลอุทธรณ์ภาค 2 ได้เลื่อนวันนัดฟัง ค� ำพิพากษา และวันที่ 1 กันยายน 2563 ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ได้มี ค� ำพิพากษาให้บริษัทชดใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยให้แก่โจทก์ที่ยื่น อุทธรณ์เพิ่มเติม ซึ่งบริษัทได้น� ำเงินจ� ำนวน 25 ล้านบาท ไปวางที่ศาล จังหวัดระยองในวันที่ 30 กันยายน 2563 ต่อมาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2563 ศาลจังหวัดระยองได้นัดฟังค� ำพิพากษาหรือค� ำสั่งศาลอุทธรณ์ ภาค 2 เพิ่มเติมในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ซึ่งโจทก์ได้ยื่นฎีกาต่อ ศาลแล้วเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564 และอยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลฎีกาที่จะรับฎีกาของโจทก์ ทั้งนี้ บริษัทฯ อยู่ระหว่างการติดตาม ความคืบหน้าของคดี ค) คดีความเกี่ยวกับการโอนสิทธิการรับช� ำระเงิน ค่าวัตถุดิบของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2560 บริษัท อนัตตา กรีน จ� ำกัด ต่อมาเปลี่ยนชื่อ เป็น บริษัท ไทย ไบโอ อินโนเวชั่น จ� ำกัด (“อนัตตา”) บริษัทย่อย และ บริษัท เอเชีย แคปปิตอล กรุ๊ป จ� ำกัด (มหาชน) (“ACAP”) ได้ท� ำบันทึก ความเข้าใจ 3 ฝ่าย โดยอนัตตามีหน้าที่เป็นผู้จัดหาน�้ ำมันปาล์ม ส่งจ� ำหน่ายให้แก่บริษัทย่อย และ ACAP เป็นผู้ออกเงินทุนให้อนัตตา น� ำไปช� ำระค่าสินค้าแก่ผู้ค้ารายย่อย ในวันเดียวกัน อนัตตาได้ท� ำสัญญา กู้ยืมเงินจาก ACAP และโอนสิทธิการรับเงินค่าวัตถุดิบให้แก่ ACAP พร้อมกับแจ้งการโอนสิทธิการรับเงินให้บริษัทย่อยทราบ และบริษัทย่อย ได้ให้ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร้องดังกล่าว ในช่วงไตรมาส 2 ปี 2561 บริษัทย่อยได้มีการแจ้งข่าวปัญหาวัตถุดิบ คงคลังต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในเวลาเดียวกัน ACAP ได้เรียกร้องให้บริษัทย่อยช� ำระค่าวัตถุดิบที่ซื้อขายกับอนัตตาภายใต้ การโอนสิทธิการรับช� ำระเงินค่าวัตถุดิบรวม 11 รายการ ซึ่งบริษัทย่อย ได้พิจารณาเอกสารที่ได้รับมาและได้ชี้แจงกับ ACAP ว่าเป็นเอกสารที่ ไม่อยู่ในระบบของบริษัทย่อยและไม่พบหลักฐานการส่งมอบวัตถุดิบจาก อนัตตาตามที่ระบุในเอกสารดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2561 ACAP ได้ยื่นฟ้องคดีต่อศาลแพ่ง เพื่อเรียกร้องให้อนัตตา และบริษัทย่อยร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายรวมเป็น จ� ำนวนเงินทั้งสิ้น 324.65 ล้านบาท และดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี ซึ่ง ที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทย่อยได้พิจารณาข้อเท็จจริงและหลักฐานที่ เกี่ยวข้องแล้วเห็นว่า บริษัทย่อยไม่ต้องรับผิดตามฟ้อง บริษัทย่อยจึงได้ แต่งตั้งทนายความและยื่นค� ำให้การต่อสู้คดี เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2563 ศาลชั้นต้นได้พิพากษาให้บริษัทย่อยชดใช้ ค่าเสียหายให้กับ ACAP จ� ำนวน 289.56 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วันผิดนัดจนกว่าจะช� ำระเสร็จสิ้น หากบริษัทย่อยไม่ช� ำระหนี้ ดังกล่าวให้ครบถ้วน ให้อนัตตาช� ำระหนี้ส่วนที่เหลือแก่ ACAP ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้ยื่นอุทธรณ์ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2565 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายืนตามศาล ชั้นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยยังไม่เห็นพ้องกับค� ำพิพากษาของศาล อุทธรณ์ และจะยื่นขออนุญาตฎีกาต่อศาลฎีกา ซึ่งบริษัทย่อยมีความเชื่อว่า ข้อต่อสู้ทั้งในข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และการใช้สิทธิทางศาลโดยสุจริต ผลที่สุดศาลฎีกาจะพิจารณาพยานหลักฐานในคดีและพิพากษาให้บริษัทย่อย ไม่ต้องรับผิดช� ำระหนี้ตามค� ำพิพากษาของศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งนี้ จากพยานหลักฐานที่บริษัทย่อยได้ยื่นเสนอเพิ่มเติมในชั้นพิจารณา ของศาลอุทธรณ์ซึ่งเป็นพยานหลักฐานที่ส� ำคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็น แห่งคดีโดยตรง เป็นพยานหลักฐานใหม่ที่พนักงานสอบสวนในคดีอาญา ได้รวบรวมและจัดท� ำขึ้นจากการสอบสวนภายหลังจากศาลชั้นต้นมี ค� ำพิพากษาแล้ว บริษัทย่อยเชื่อว่าเป็นพยานหลักฐานที่มีน�้ ำหนักมั่นคง ที่จะท� ำให้ศาลฎีการับฟังได้ว่า นิติกรรมการซื้อขายที่อนัตตาได้ท� ำขึ้น โดยมีอดีตพนักงานของบริษัทย่อยให้ความช่วยเหลือแก่อนัตตา และ ACAP น� ำมาเป็นเอกสารหลักฐานในการฟ้องเอาผิดกับบริษัทย่อย เป็นการกระท� ำที่ไม่สุจริตและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งสอดคล้องกับ ข้อเท็จจริงที่ ก.ล.ต. ตรวจสอบพบการกระท� ำการทุจริตเกี่ยวกับการ บริหารวัตถุดิบคงคลัง แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย อันเป็นเหตุให้บริษัทย่อยได้รับความเสียหาย ซึ่งเข้าข่ายเป็นความผิด ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 จึงได้ กล่าวโทษให้ด� ำเนินคดีอาญาเอาผิดกับบุคคลดังกล่าว ซึ่งพนักงาน สอบสวนได้มีการสั่งฟ้องคดีอาญาบางคดีและส่งส� ำนวนการสอบสวนให้ พนักงานอัยการแล้ว ดังนั้น บริษัทย่อยเชื่อว่าบริษัทย่อยไม่มีหนี้ที่จะต้อง รับผิดต่อ ACAP ตามสัญญาที่เกิดจากการกระท� ำที่ไม่สุจริตและไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยได้พิจารณาตั้งส� ำรองความเสียหาย จากคดีดังกล่าว จ� ำนวน 444 ล้านบาท 113 การประกอบธุรกิจ และผลการดำ �เนินงาน การกำ �กับดูแลกิจการ งบการเงิน ภาคผนวก
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=