ซ่อมบ� ำรุงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Turnaround Management) อย่างต่อเนื่อง โดยก� ำหนดมาตรการ ป้องกัน และลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการซ่อม บ� ำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ของบริษัทฯ อาทิ โครงการ บ� ำบัดน�้ ำเสียที่เกิดจากการล้างอุปกรณ์และเครื่องจักรใน ช่วงหยุดซ่อมบ� ำรุงในพื้นที่โรงงานทดแทนการส่งก� ำจัดน�้ ำทิ้ง โดยวิธีเผาท�ำลาย การควบคุมคุณภาพอากาศ บริษัทฯ ด� ำเนินโครงการเพื่อควบคุมมลพิษทางอากาศทั้ง ภายในพื้นที่ปฏิบัติการและบริเวณโดยรอบให้อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานตามกฎหมายข้อบังคับและหลักมาตรฐานสากล และประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการลดการปล่อย มลพิษทางอากาศผ่านการประสานความร่วมมือกับภาครัฐ และผู้ประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพื่อให้เกิด ประสิทธิผลสูงสุด การควบคุมและลดสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) บริษัทฯ ด� ำเนินการควบคุมและลดสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ที่แหล่งก� ำเนิด ตั้งแต่การจัดท� ำบัญชีสาร VOCs ของทุกแหล่งก� ำเนิดประจ� ำปี ซึ่งหากพบกรณี TVOCs เกิน ค่าควบคุมที่บริษัทฯ ก� ำหนด ซึ่งเป็นค่าที่เข้มงวดกว่า กฏหมาย บริษัทฯ จะด� ำเนินการปรับปรุงและแก้ไขอุปกรณ์ ทันทีเพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น และควบคุมการซ่อม บ� ำรุงอุปกรณ์ให้มีการระบายสาร VOCs ออกสู่บรรยากาศ น้ อยที่สุด โดยติดตั้งระบบดูดกลับไอระเหยของสาร ไฮโดรคาร์บอน (Vapor Recovery Unit: VRU) และท่อน� ำ ไอสารระเหยไฮโดรคาร์บอนกลับ (Vapor Return Line) เพื่อล� ำเลียงไอระเหยของสารไฮโดรคาร์บอนที่อาจจะระบาย ออกสู่บรรยากาศ น� ำกลับเข้าสู่ถังเก็บผลิตภัณฑ์เพื่อน� ำไป ใช้ประโยชน์หรือได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังขยายผลการควบคุมและลดสาร อินทรีย์ระเหยง่ายร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 5 นิคมฯ 1 ท่าเรือ ในพื้นที่ มาบตาพุด โดยมีการประยุกต์ใช้กลไกการปฏิบัติที่ดี (Code of Practice: COP) ในพื้นที่โรงงานเพื่อจัดการการระบายไอ สารเบนซีน และ 1, 3-บิวทาไดอีน อาทิ ด� ำเนินการเฝ้าระวัง และตรวจติดตามคุณภาพอากาศเชิงรุกทั้งในพื้นที่และรอบ รั้วโครงการตลอดช่วงการด� ำเนินธุรกิจ และช่วงหยุดซ่อม บ� ำรุง มีการใช้มาตรการควบคุมไอระเหยโดยก� ำหนดให้มี การตรวจวัดก่อนเปิดอุปกรณ์ให้ไม่เกินค่าควบคุมภายในที่ เข้มงวดกว่ากฎหมาย รวมทั้งมีการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อดักจับ ไอระเหยกลับเข้ากระบวนการไม่ให้ระเหยออกสู่บรรยากาศ เช่น การติดตั้ง Blower เพื่อรวบรวมไอระเหยมาเข้าระบบ Activated Carbon เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่ากิจกรรมของ บริษัทฯ ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและพื้นที่โดยรอบ โครงการ 3.3) ผู้น� ำด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน บริษัทฯ มุ่งมั่นด� ำเนินงานบนรากฐานของการเป็นองค์กร แห่งความยั่งยืน ที่ให้ความส� ำคัญและผลักดันการแก้ไข ปัญหาและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและการบริหารจัดการน�้ ำที่มีความรุนแรงมากขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (UN SDGs) กลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Strategy) บริษัทฯ มุ่งมั่นในการเป็นผู้น� ำระดับโลกในการบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก พร้อมทั้งสนับสนุนเป้าหมายการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยและทิศทาง ของข้อตกลงปารีส ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 26 (COP26) และแสดงจุดยืนในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้ เป้าหมายการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UN SDG 13: Climate Action) ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่ง บริษัทฯ ได้ก� ำหนดเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สุทธิให้เป็นศูนย์ (Net-Zero Emission) ใน Scope 1 และ 2 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน Scope 3 ให้ได้ร้อยละ 50 ในปี 2593 โดยมีการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจ หมุนเวียน ผสานเข้ากับแนวทางการชดเชยคาร์บอนด้วยวิธี ต่างๆ เพื่อลดการปล่อยคาร์บอน (Decarbonization) จาก นโยบายในการบริหารจัดการและรับมือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศที่ด� ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ บริษัทฯ ได้รับการประเมินด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Climate Change) ให้อยู่ระดับ A (Leadership Level) ซึ่งเป็นระดับสูงสุด ภายใต้กรอบการประเมินของ สถาบัน Carbon Disclosure Project (CDP) สะท้อนถึง การเป็นองค์กรที่มุ่งมั่นในการด� ำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ผู้น� ำ ด้านการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ (UN SDGs) ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) กลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate Strategy) การบริหารจัดการน�้ ำอย่างยั่งยืน (Water Management) ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ (Product Stewardship) 178 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=