GC_ONE REPORT 2021_TH

3.4) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน มุ่งขยายสู่เครือข่ายทุกภาคส่วน บริษัทฯ มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการโดย ประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร โดยบริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะท� ำงานด้าน สิ่งแวดล้ อมประกอบด้ วยบุคลากรผู้ เชี่ยวชาญด้ าน สิ่งแวดล้อมของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อเป็นเครือข่ายที่เข้มแข็งใน การจัดการสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังประสานความร่วมมือกับ ภาครัฐในโครงการระดับประเทศ อาทิ ร่วมกับภาครัฐและ กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในพื้นที่มาบตาพุดจัดท� ำกลไก การปฏิบัติที่ดี (Code of Practice) ในการควบคุมสารเบนซีน และ 1, 3-บิวทาไดอีน (1, 3-Butadiene) และได้รับการ คัดเลือกเป็นต้นแบบในการเข้าร่วมและพัฒนาโครงการยก ระดับมาตรฐานการจัดการการฝังกลบเป็นศูนย์ (Zero Waste to Landfill) ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมในการ จัดท� ำมาตรฐานส� ำหรับสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม จากการด� ำเนินธุรกิจที่มีการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ที่ยั่งยืน มุ่งขยายสู่เครือข่ายทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับการรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ครอบคลุมทุกโรงงานอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558 และได้ รับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 (Green Industry Level 5) จากกระทรวงอุตสาหกรรม ตั้งแต่ปี 2559 ซึ่งได้ รับการรับรองในระดับสูงสุด แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น เป็นผู้น� ำและสร้างเครือข่ายสีเขียว (Green Network) จากตัวอย่างการด� ำเนินงานที่กล่าวถึงมานั้นส่งผลให้ในปี 2564 บริษัทฯ ได้รับการจัดล� ำดับดัชนีชี้วัดความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Index: DJSI ด้านสิ่งแวดล้อมใน ล� ำดับสูงสุดของอุตสาหกรรมเคมีในระดับสากลต่อเนื่อง เป็นปีที่ 3 รวมทั้งบริษัทฯ ได้รับการประเมินด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และการ บริหารจัดการน�้ ำอย่างยั่งยืน (Water Security) ให้อยู่ระดับ A (Leadership Level) ซึ่งเป็นระดับสูงสุด ภายใต้กรอบ การประเมินของสถาบัน Carbon Disclosure Project (CDP) นอกจากจะเป็นการแสดงผลส� ำเร็จในการด� ำเนิน ธุรกิจควบคู่ไปกับการค� ำนึงถึงคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานแล้ว นั้น ยังแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้น� ำในอุตสาหกรรมเคมี เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม รับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน น� ำไปสู่การเป็นผู้น� ำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ เพื่อสร้างสรรค์ คุณภาพชีวิต และเป็นต้นแบบในการสร้างจิตส� ำนึกให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องน� ำไปปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้ให้เกิดผลอย่างเป็น รูปธรรมอย่างยั่งยืน 4. การประยุกต์ ใช้ระบบบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศ (GC Management System หรือ GCMS) เมื่อบริษัทฯ ได้พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศหรือ GC Management System (GCMS) โดยการบูรณาการระบบ บริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานสากล ภายใต้กรอบแนวคิด Baldrige Performance Excellence ส� ำเร็จสมบูรณ์ในช่วงปี พ.ศ. 2562 แล้ว ในปี พ.ศ. 2563 บริษัทฯ ได้น� ำระบบบริหารจัดการ GCMS ไปประยุกต์ใช้ในสายงานกลาง (Corporate Functions) และกลุ่มธุรกิจหลัก 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ และกลุ่มผลิตภัณฑ์สาธารณูปการ โดยได้ขยายการด� ำเนินการครอบคลุม ทั้งองค์กรในปี 2564 ซึ่งมีขั้นตอนที่ส� ำคัญ ดังนี้ GCMS Manual GCMS Scoring Framework (Toolkit) Best Practices/ Recommended Practices GCMS KPIs DEPLOYMENT BASELINE ASSESSMENT GAP CLOSURE PERFORMANCE MEASURES Element Champion/Leader Check-in Understanding of GCMS Excellence Framework Gaps/OFIs Process Improvement Performance Improvement Working Team/ Process Owner Working Team/ Process Owner Working Team/ Process Owner Element Champion/ Leader/ Working Team GCMS Company-wide Implementation Approach 1 2 3 4 180 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=