3. กระบวนการพิจารณาและการเปิดเผยข้อมูลการมีส่วนได้เสีย รายการเกี่ยวโยงกันหรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์จะ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างเคร่งครัดและรอบคอบ โดยกรรมการ ผู้บริหารและ/หรือพนักงานที่มีส่วนได้เสียหรือเกี่ยวข้องจะ ต้องไม่อยู่ร่วมในการพิจารณา หากในกรณีที่มีความจ� ำเป็น ต้องให้บุคคลดังกล่าวเข้าชี้แจงข้อมูลรายละเอียดประกอบ การพิจารณาแล้ว จะงดออกเสียงและไม่แสดงความคิดเห็น ใดๆ ในการพิจารณาอนุมัติการเข้าท� ำรายการดังกล่าว เพื่อความเป็นอิสระในการพิจารณา 4. การเข้าท� ำรายการทางธุรกิจจะต้องกระท� ำการด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต มีเหตุผล และเป็นอิสระภายใต้กรอบ จริยธรรมที่ดี และค� ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ 5. ในกรณีที่ได้กระท� ำการหรืออยู่ภายใต้สถานการณ์ที่สงสัยว่า หรือผู้อื่นเห็นว่าจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ จะต้องจัดท� ำรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เปิดเผยรายการที่สงสัยดังกล่าวตามแบบฟอร์มที่บริษัทฯ ก� ำหนด โดยแจ้งต่อผู้บังคับบัญชาตามล� ำดับชั้น และน� ำส่ง หน่วยงานก� ำกับกิจการองค์กร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ� ำกัด (มหาชน) หรือด� ำเนินการจัดท� ำรายงานผ่าน ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานก� ำกับกิจการองค์กร ก� ำหนดไว้ โดยทันที เพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาว่ามี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ หรือไม่ และควร ด� ำเนินการอย่างไร นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความส� ำคัญต่อการรายงาน ทั้งในกรณี ที่มีและไม่มีเหตุการณ์ซึ่งอาจเป็นการขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยก� ำหนดให้มีการรายงานเป็นประจ� ำทุกปีและเมื่อมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์เกิดขึ้นระหว่างปี ในปี 2564 บริษัทฯ ด� ำเนินการเรื่องการป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยมีข้อสรุป ดังนี้ ติดตามให้ผู้บริหารและพนักงานของ GC Group จัดท�ำ รายงานการเปิดเผยรายการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) ประจ� ำปี 2564 ผ่านระบบได้ครบถ้วน ร้อยละ 100 สายงานตรวจสอบภายในช่วยสอบทานขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการสื่อความ การเปิดเผยรายการความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ พบว่าการด� ำเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่ บริษัทฯ ก� ำหนด เพื่อยกระดับการก� ำกับดูแลกิจการภายในองค์กร ในปี 2564 บริษัทฯ ได้มีการทบทวนขั้นตอนการด� ำเนินงาน (Workflow) ในคู่มือการเข้าท� ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (Related Party Transaction Manual) เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ในปัจจุบัน และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก� ำหนดไว้ ในประกาศของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่อง รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน (6) การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน กลุ่มบริษัทฯ มีวัตถุประสงค์และมุ่งมั่นที่จะท� ำธุรกิจโดยให้ความ ส� ำคัญกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการป้ องกันและต่ อต้ านการทุจริต คอร์รัปชัน (Fraud and Corruption) การให้หรือรับสินบน (Bribery) ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งในประเทศและต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาคเอกชน ตลอดจนสนับสนุนและ ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีจิตส� ำนึกในการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชันในทุกรูปแบบ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้ให้มีการจัดท� ำนโยบายต่อต้านการ ทุจริต คอร์รัปชันขึ้น โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการก� ำกับ ดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Policy) ของ กลุ่มบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่ากลุ่มบริษัทฯ มีการปฏิบัติที่ สอดคล้องกับนโยบายที่ได้ก� ำหนดไว้ ตลอดจนเพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง ตลอดจนบุคคลใดๆ ที่กระท� ำการ เพื่อประโยชน์ของกลุ่มบริษัทฯ ยึดถือนโยบายนี้เป็นบรรทัดฐาน ในการปฏิบัติงาน และถือว่าการกระท� ำใดๆ ที่ไม่เป็นไปตาม นโยบายของกลุ่มบริษัทฯ จะต้องได้รับโทษทางวินัยและตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการ กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง ตลอดจนบุคคลใดๆ ที่กระท� ำการเพื่อประโยชน์ของกลุ่มบริษัทฯ มีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบว่าด้วยเรื่องการต่อต้านการทุจริต คอร์ รัปชัน ตลอดจนคู่ มือการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ นโยบาย ข้อบังคับ แนวปฎิบัติ และแนวทาง ที่บริษัทฯ ได้ก� ำหนดไว้ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ของตนด้วยความ โปร่งใส ไม่กระท� ำการใดๆ ที่เป็นการแสดงถึงเจตนาว่าเป็นการ ทุจริตคอร์รัปชัน และห้ามไม่ให้เรียกร้อง ด� ำเนินการ หรือยอมรับ การคอร์รัปชัน เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เพื่อนและคนรู้จัก และพร้อมรับการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ จากผู้มีหน้าที่ตรวจสอบหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตลอดเวลา ทั้งนี้ บริษัทย่อยสามารถพิจารณาน� ำนโยบายและมาตรการ ด� ำเนินการของบริษัทฯ ไปประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสม มาตรการด� ำเนินการของบริษัทฯ 1. บริษัทฯ แต่งตั้งคณะท� ำงานส่งเสริมการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน เพื่อท� ำหน้าที่ด� ำเนินการให้มาตรการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชันของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่บริษัทฯ ได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นสมาชิกแนวร่วม ต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action against Corruption: CAC) 2. บริษัทฯ มีกระบวนการทบทวน ตรวจสอบ และปรับปรุง มาตรการต่อต้านคอร์รัปชัน และรายงานต่อคณะกรรมการ ก� ำกับดูแลกิจการและการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประจ� ำทุกปี เพื่อเป็นการวัดประสิทธิผล ปรับปรุง และพัฒนามาตรการ ให้สอดคล้องกับความเสี่ยงด้านคอร์รัปชันที่เปลี่ยนแปลงไป 183 การประกอบธุรกิจ และผลการดำ �เนินงาน การกำ �กับดูแลกิจการ งบการเงิน ภาคผนวก
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=