GC_ONE REPORT 2021_TH

ในกลุ่มที่ส� ำคัญผ่านคณะกรรมการ GRC อย่างต่อเนื่อง เพื่อดูแล สอบทาน ติดตาม ประเมินผล และส่งเสริมการ ด� ำเนินงานด้าน GRC รวมถึงจัดท� ำแบบประเมินประจ� ำปี (GRC Health Check) เพื่อประเมินการรับรู้และการปฏิบัติ ตามแนวทางที่ก� ำหนด โดยน� ำผลจากแบบสอบถามดังกล่าว ไปวิเคราะห์และวางแผนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น บริษัทฯ ยังได้สื่อความเรื่อง GRC ผ่านช่องทาง ต่างๆ อย่างสม�่ ำเสมอ ไม่ว่าจะผ่านช่องทาง GRC Newsletter หรือการสื่อสารจากผู้บริหารระดับสูงไปสู่ พนักงาน (Tone at the Top) ผ่านกิจกรรม CEO Town Hall ทั้งนี้ ในปี 2564 ได้จัดท� ำช่องทางสื่อสาร Chatbot “น้องเต็มใจ” ที่สามารถตอบค� ำถามและให้ความรู้เบื้องต้น ในเรื่องของ GRC แก่พนักงานทุกคนได้ตลอด 24 ชั่วโมง และจัดให้มีการเรียนรู้ด้วยตนเองในหลักสูตร Integrated GRC ผ่าน e-Learning Platform “UP” แก่ผู้บริหารและ พนักงานทุกคนในองค์กร รวมถึงบริษัทในกลุ่ม เพื่อ เสริมสร้างและเพิ่มความตระหนักรู้และความเข้าใจด้าน GRC ให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคน บริษัทฯ มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง ทั่วทั้งองค์กรแบบบูรณาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดย อ้างอิงแนวทางการบริหารความเสี่ยงตามกรอบด� ำเนินงานและ แนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานสากล การประเมินความเสี่ยง ได้ค� ำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงจากทั้งปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) ที่เกี่ยวข้องกับการด� ำเนินธุรกิจในปัจจุบันและในอนาคต รวมถึงปัจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ และโอกาสที่จะเกิดทุจริต และคอร์รัปชัน พร้อมทั้งก� ำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยง เพื่อ ให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีกระบวนการทบทวน ความเสี่ยงและติดตามการด� ำเนินงานตามมาตรการจัดการ ความเสี่ยงเป็นประจ� ำ เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว และบริษัทฯ ได้น� ำดัชนีชี้วัดความเสี่ยง ที่ส� ำคัญ (Key Risk Indicator: KRI) มาเชื่อมโยงกับดัชนีชี้วัด ความส� ำเร็จ (Key Performance Indicator: KPI) เพื่อประเมิน ความสัมฤทธิ์ผลของการด� ำเนินกลยุทธ์ระยะสั้นและระยะยาว ของบริษัทฯ และติดตามการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยเสี่ยงต่างๆ พร้อมทั้งก� ำหนดมาตรการเพิ่มเติมส� ำหรับตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงอย่างทันท่วงที ในปี 2564 บริษัทฯ มีการปรับปรุง ตารางประเมินความเสี่ยง (Risk Matrix) เพื่อการจัดล� ำดับความ ส� ำคัญของความเสี่ยงที่ชัดเจนขึ้น รวมทั้งปรับปรุงเกณฑ์การ ประเมินความเสี่ยงด้านโอกาส (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) เพื่อน� ำไปประเมินความเสี่ยงต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ ทางธุรกิจและเชิงกลยุทธ์ในปี 2565 ต่อไป นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีการซ้อมแผนบริหารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) ทั้งระดับกลุ่มธุรกิจและ ระดับองค์กรเป็นประจ� ำทุกปี โดยการจ� ำลองสถานการณ์ที่ส่งผล ให้การด� ำเนินงานหยุดชะงัก และกระทบต่อความต่อเนื่องของ การด� ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อเตรียมความพร้อมในการ รองรับและบรรเทาผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ขึ้น และน� ำผล จากการซ้อมแผนฯ มาปรับปรุงแก้ไขแผนการรับมือก่อนที่ อุบัติการณ์จะเกิดขึ้นจริง ในปี 2564 ได้จัดซ้อมแผนการรับมือ ภาวะวิกฤตระดับองค์กร โดยการจ� ำลองสถานการณ์ที่เก็บสารเคมี อันตรายถูกฟ้าผ่า ไฟไหม้ และระเบิดเกิดการรั่วไหลของสารเคมี และการโจมตีทางไซเบอร์ที่ระบบควบคุมการผลิต โดยซ้อม ร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในบริษัทฯ รายละเอียดได้กล่าวในหัวข้อ “การบริหารจัดการความเสี่ยง” 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) บริษัทฯ ได้ก� ำหนดกิจกรรมการควบคุมที่จะช่วยลดความเสี่ยง ที่จะท� ำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ ดังนี้ 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารได้ให้ความส� ำคัญในการ บริหารความเสี่ยง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการน� ำพาองค์กร สู่เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว จึงจัดให้มีคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) แต่งตั้ง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ และจัดให้มีคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับองค์กร (Enterprise Risk Management Committee) แต่งตั้งโดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมถึง จัดให้มีคณะกรรมการเฉพาะเรื่องส� ำหรับความเสี่ยงเฉพาะของ การด� ำเนินธุรกิจ เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารจัดการ โดยตรง และสามารถติดตามสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างใกล้ชิด การจัดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว เพื่อการก� ำกับ ดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่าง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล แก่ผู้บริหารและพนักงานทุกคนในองค์กร รวมถึงบริษัทในกลุ่ม การเรียนรู้ด้วยตนเอง หลักสูตร Integrated GRC ผ่าน e-Learning Platform “UP” เสริมสร้างความตระหนักรู้ เพิ่มความเข้าใจ 200 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=