หรือ SPR ออกมาใช้ เพื่อกดดันราคาน�้ ำมันดิบให้ต�่ ำลง อย่างไร ก็ตาม สภาวการณ์ขาดแคลนพลังงาน ทั้งถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน�้ ำมัน ประกอบกับการคาดการณ์ฤดูหนาวยาวนาน สนับสนุนให้โรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรมเปลี่ยนมาใช้ น�้ ำมันเป็นเชื้อเพลิงมากขึ้น ส่งผลให้ราคาน�้ ำมันดิบมีแนวโน้ม ทรงตัวในระดับสูง ท� ำให้ราคาน�้ ำมันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2564 อยู่ที่ 69.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สถานการณ์ราคาและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมในปี 2564 ปรับเพิ่มขึ้นโดยมีสาเหตุส� ำคัญมาจากการฟื้นตัวของ อุปสงค์หลังจากหลายประเทศผ่อนคลายมาตรการปิดเมือง เนื่องจากประชาชนได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น โดยอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วคือน�้ ำมันเบนซิน เพราะพบว่าพฤติกรรมของ ประชาชนหลายประเทศมีการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเพิ่มมากขึ้น กว่าช่วงก่อนการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ถึง 1.5-2.0 เท่า อีกทั้ง โรงกลั่นที่มีค่าการกลั่นต�่ ำในปีที่ผ่านมาและโรงงานเก่า ได้ปิดตัวในหลายภูมิภาค โดยมีก� ำลังผลิตรวมกันกว่า 1.9 ล้าน บาร์เรลต่อวันที่ปิดไป ซึ่งได้รับผลกระทบของการแพร่ระบาดของ ไวรัสโควิด-19 รวมถึงมาจากการปรับกลยุทธ์ของบริษัทให้มุ่งเน้น ธุรกิจสีเขียว (Green Business) มากขึ้น นอกจากนี้ จีนมีการ ส่งออกผลิตภัณฑ์น�้ ำมันปิโตรเลียมลดลงในปีนี้ราวร้อยละ 40 เมื่อเทียบกับปีก่อน เนื่องจากจีนมีนโยบายควบคุมการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ หรือนโยบายควบคุม การใช้พลังงาน (Dual Control Energy Policy) ท� ำให้รัฐบาลจีน พยายามให้โรงกลั่นที่ด้อยประสิทธิภาพในประเทศลดก� ำลัง การกลั่นด้วยการลดโควตาการน� ำเข้าน�้ ำมันดิบและโควตาการ ส่งออกน�้ ำมันส� ำเร็จรูป ทั้งนี้ รายละเอียดของแต่ละผลิตภัณฑ์มี ดังนี้ ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเบนซิน (Gasoline : ULG 95) กับน�้ ำมันดิบ ดูไบปี 2564 อยู่ที่ 11.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2563 โดยได้รับปัจจัย สนับสนุนจากการเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนบุคคลที่เพิ่มขึ้น ซึ่ง เป็นผลจากการที่ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัส โควิด-19 เพิ่มขึ้น รวมถึงการที่หลายประเทศเปลี่ยนนโยบาย จากความพยายามลดจ� ำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ให้เป็นศูนย์ เป็นการใช้ชีวิตควบคู่กับเชื้อไวรัสโควิด-19 (Live with COVID-19) ซึ่งจะมุ่งเป้าหมายของจ� ำนวนประชากรที่ได้รับวัคซีน แทน เป้าหมายให้มีผู้ติดเชื้อเป็นศูนย์ ส่วนต่างราคาน�้ ำมันอากาศยาน (Jet/Kerosene) กับน�้ ำมันดิบ ดูไบปี 2564 อยู่ที่ 5.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัว เพิ่มขึ้น 3.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2563 โดยได้รับ ปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายการเปิดประเทศ หลังประชาชนได้ รับการฉีดวัคซีนเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งในบางประเทศยังมีมาตรการ เปิดการท่องเที่ยวแบบจับคู่เดินทางเฉพาะประเทศที่ควบคุมการ ระบาดโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Travel Bubble) เพื่อ กระตุ้นอุปสงค์จากการท่องเที่ยวอีกด้วย ส่วนต่างราคาน�้ ำมันดีเซล (Diesel 10 PPM) กับน�้ ำมันดิบดูไบ ปี 2564 อยู่ที่ 8.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2563 จากการฟื้นตัวของ อุปสงค์ในยุโรป ซึ่งเป็นภูมิภาคหลักที่มีการน� ำเข้าน�้ ำมันดีเซล จ� ำนวนมาก อีกทั้งโรงกลั่นได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ท� ำให้ มีการปิดตัวไปมากกว่า 1.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งท� ำให้อุปทาน ในปีนี้ค่อนข้างตึงตัว ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันสูง (High Sulfur Fuel Oil) กับน�้ ำมันดิบดูไบปี 2564 อยู่ที่ -4.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล ปรับตัวลดลง 1.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2563 โดยมีทั้งปัจจัยกดดันและปัจจัยสนับสนุนควบคู่กันไป เริ่ม จากปัจจัยกดดันจากการเข้าสู่มาตรการลดปริมาณก� ำมะถันใน เชื้อเพลิงเรือเดินสมุทรขององค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (IMO) ที่เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมปี 2563 จากระดับก� ำมะถัน ที่ร้อยละ 3.5 มาสู่ร้อยละ 0.5 ส่งผลให้อุปสงค์ของน�้ ำมันเตา ก� ำมะถันสูงลดลง อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยสนับสนุนจากโรงกลั่น น�้ ำมันส่วนใหญ่เปลี่ยนการผลิตไปเป็นน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำ ท� ำให้อุปทานน�้ ำมันเตาก� ำมะถันสูงมีปริมาณลดลง อีกทั้ง อุปสงค์จากภาคไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นหลังจากราคาก๊าซ LNG ปรับตัว เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าในช่วงไตรมาสที่ 4 ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำ (Low Sulfur Fuel Oil) กับน�้ ำมันดิบดูไบปี 2564 อยู่ที่ 12.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2563 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากอุปสงค์ภาคการขนส่งทางเรือ หลังจากการขนส่งระหว่างประเทศทางอากาศถูกปิดไปเนื่องจาก การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อีกทั้งราคาก๊าซ LNG ที่ปรับตัว เพิ่มขึ้นในปลายปี ส่งผลให้อุปสงค์น�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำ ส� ำหรับใช้ผลิตไฟฟ้าในแถบประเทศบริเวณเอเชียเหนือสูงขึ้น เช่นกัน อย่างไรก็ตาม จีนมีการลดการน� ำเข้าราวร้อยละ 30-40 จากปีก่อน เนื่องจากรัฐบาลส่งเสริมให้โรงกลั่นในประเทศได้รับ การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อกระตุ้นให้โรงกลั่นผลิตน�้ ำมันเตา เกรดก� ำมะถันต�่ ำมากขึ้น เพื่อส่งไปจ� ำหน่ายที่ท่าเรือแห่งใหม่ บริเวณ Zhoushan ซึ่งจีนต้องการให้เป็นศูนย์กลางการเติม เชื้อเพลิงเดินเรือแห่งใหม่ของภูมิภาคเอเชียเหนือ แนวโน้มสถานการณ์ตลาดปิโตรเลียมในปี 2565 สถานการณ์น�้ ำมันดิบปี 2565 ถึงแม้จะยังมีปัจจัยกดดันจากการ คาดการณ์ปริมาณการผลิตน�้ ำมันดิบจากผู้ผลิตรายใหญ่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยมีการเพิ่มก� ำลังการผลิตของกลุ่ม โอเปกพลัสอย่างต่อเนื่องจนถึง กันยายน 2565 ส่วนการผลิต น�้ ำมันดิบของผู้ผลิตรายใหญ่อื่นๆ อย่างสหรัฐฯ คาดการณ์ว่า จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน สู่ระดับเฉลี่ย 12 ล้านบาร์เรล ต่อวัน รวมถึงการเจรจาข้อตกลงนิวเคลียร์ของประเทศอิหร่าน ส่งผลให้ปริมาณการผลิตน�้ ำมันดิบมีโอกาสกลับมาเช่นกัน แต่ คาดการณ์ความต้องการใช้น�้ ำมันมีแนวโน้มดีขึ้นต่อเนื่องจาก การทยอยมีการเปิดประเทศ โดยความต้องการน�้ ำมันดิบจะกลับ เข้าสู่ภาวะปกติในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2565 ที่ระดับ 100 ล้านบาร์เรลต่อวัน จึงคาดว่าราคาน�้ ำมันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2565 จะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ได้ 60 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=