ปัจจัยความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญ บูรณาการเชื่อมโยงธุรกิจและการต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้เกิดมูลค่าสูงสุด (Integration & Diversification) ผ่านการด� ำเนินการโครงการลงทุนต่างๆ โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการด้านวัตถุดิบ ปรับปรุงหน่วยผลิตและโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีความยืดหยุ่นในการใช้วัตถุดิบ (Feedstock Flexibility) และรักษาความ สามารถทางการแข่งขันให้ต้นทุน (Cost Competitiveness Enhancement) อยู่ ในระดับ 2nd Quartile เป็นอย่างน้อย การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนการผลิต โดยการลดค่าใช้จ่าย ในงานด้านการซ่อมบ� ำรุง (Maintenance) ลดกระบวนการท� ำงานที่ซ�้ ำซ้อน (Lean Process) แต่ยังคงรักษาไว้ซึ่งเสถียรภาพในกระบวนการผลิต (Plant Reliability) และการบริหารจัดการพลังงานและระบบสาธารณูปการให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด มีการใช้งานอย่างคุ้มค่า ลดการเกิดการสูญเสียพลังงาน และการเกิดมลภาวะ สร้างความมั่นคงด้านการจ� ำหน่าย (Sales & Marketing) ในระยะยาว ด้วย การเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด ขยายตลาดฐานที่มั่นหลัก (Home Base) และ สร้างการขายให้เข้มแข็ง ควบคู่การขยายโอกาสในการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศเป้าหมายยุทธศาสตร์ (Strategic Market) เพื่อเป็นการสร้างความคล่องตัวในการขาย (Sales Agility) และรองรับโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ปรับ Product Portfolio สร้างมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่า สูงขึ้น (High Value Product: HVP) และการใช้งานผลิตภัณฑ์ (Application) ในหลากหลายรูปแบบตามกลยุทธ์ธุรกิจที่มุ่งเน้นตลาด (Market-Focused Business) รวมทั้งแสวงหาโอกาสพัฒนาธุรกิจใหม่ตามแนวโน้ม Megatrends เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดที่สามารถตอบสนองกับความต้องการของ ลูกค้าปลายทางมากขึ้น การลงทุนธุรกิจผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง (High Value Business: HVB) โดย มุ่งเน้นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง ตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค และปลดปล่อยคาร์บอนต�่ ำ ปัจจัยความเสี่ยง ด้านการบริหารจัดการน�้ ำอย่างยั่งยืน (Sustainable Water Management) ความสามารถในการบริหารจัดการน้ำ � อย่างยั่งยืนทั้งในด้านปริมาณและต้นทุน เป็นสิ่งสำ �คัญต่อการดำ �เนินธุรกิจของ บริษัทฯ เพื่อป้องกันการหยุดชะงักของ กระบวนการผลิต รักษาความสามารถใน การแข่งขัน และเพิ่มความมั่นใจต่อ แผนการลงทุนโครงการในอนาคต ดังนั้น บริษัทฯ จึงต้องมีการกำ �หนดมาตรการ และผลักดันให้มีการบริหารจัดการน้ำ � อย่างยั่งยืนในระดับประเทศ การจัดหา แหล่งน้ำ �ทางเลือก รวมถึงการพิจารณา นำ �เทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่อลดการใช้น้ำ � เพื่อให้มั่นใจว่าจะมีน้ำ �เพียงพอต่อการเดิน เครื่องของโรงงานปัจจุบัน รวมถึงรองรับ โครงการในอนาคต ที่ต้นทุนเหมาะสม บริษัทฯ ด� ำเนินมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน�้ ำ ดังนี้ ติดตามและประเมินความเสี่ยงจากการเกิดสภาวะภัยแล้งอย่างต่อเนื่อง และ ก� ำหนดแผนการรับมือและแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจในกรณีที่เกิด ภาวะน�้ ำแล้ง เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต น� ำน�้ ำกลับมาหมุนเวียนใช้ ประโยชน์ (Renewable Water) สนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยี ปรับปรุง กระบวนการผลิต ตลอดจนการหาแหล่งน�้ ำส� ำรอง อาทิ โครงการผลิตน�้ ำจืด จากน�้ ำทะเล (Sea Water Reverse Osmosis: SWRO) และโครงการน� ำน�้ ำทิ้ง จากระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียกลับมาใช้ใหม่ (Wastewater Reverse Osmosis: WWRO) เป็นต้น ศึกษาแนวทางในการจัดหาแหล่งน�้ ำส� ำรองอื่นๆ รวมถึงศึกษาการน� ำเทคโนโลยี การผลิตน�้ ำใหม่ๆ เพิ่มเติม ผลักดันและส่งเสริมแนวทางและนโยบายการบริหารจัดการน�้ ำอย่างบูรณาการ ที่ยั่งยืนในระดับประเทศผ่านการสร้างเครือข่ายร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม เช่น สถาบันน�้ ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และศูนย์ปฏิบัติการน�้ ำภาคตะวันออก (Water War Room) เป็นต้น ตลอดจนผลักดันการจัดตั้งหน่วยงานก� ำกับดูแล การบริหารสัญญาและกลไกราคาน�้ ำเพื่อใช้ในภาคอุตสาหกรรมอย่างโปร่งใส และเป็นธรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 83 การประกอบธุรกิจ และผลการดำ �เนินงาน การกำ �กับดูแลกิจการ งบการเงิน ภาคผนวก
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=