GC One Report 2023 [TH]

โดยในปีนี้บริษัทฯ ได้ประเมินและเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงและ โอกาสที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ สอดคล้องกับแนวทางของ International Financial Reporting Standards (IFRS) S1 (Sustainability-related Disclosures) และ S2 (Climate-related Disclosures) อีกทั้งยังจัดท� ำ นโยบายตลอดจนแผนกลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และการจัดการพลังงาน (Climate Strategy and Energy Management) ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยมีคณะกรรมการพัฒนาอย่ างยั่งยืน (Sustainable Development Committee: SDC) ท� ำหน้าที่ขับเคลื่อนกลยุทธ์ และก� ำหนดทิศทางของการด� ำเนินงานให้สอดคล้องตามกรอบ การด� ำเนินงาน Low Carbon Transition ดังนี้ Efficiency-driven ด� ำเนินการปรับปรุงการบริหารจัดการ พลังงานโดยน� ำเทคโนโลยีที่ปล่อยคาร์บอนต�่ ำมาปรับใช้ใน กระบวนการผลิต และปรับเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียน หรือพลังงานคาร์บอนต�่ ำ ได้แก่ โครงการอนุรักษ์พลังงาน จ� ำนวน 74 โครงการ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพหอกลั่น โครงการพัฒนา Word Membrane Platform โครงการ พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เป็นต้น โดยมี เป้าหมายเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิต Portfolio-driven ด� ำเนินการปรับสัดส่วนธุรกิจให้เป็น ธุรกิจปล่อยคาร์บอนต�่ ำ โดยมุ่งเน้นการลงทุนใน 3 กลุ่ม ธุรกิจ ได้แก่ กลุ่มเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษและสมรรถนะสูงที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Specialty & Performance Chemicals) โดยการสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงสุดจาก ธุรกิจ ตลาด และเทคโนโลยีที่มี อาทิ สารเคลือบผิวที่ มีสารอินทรีย์ระเหยง่ายต�่ ำ (Low VOC Coating) ของ บริษัท allnex และ Vencorex ที่บริษัทฯ ได้เข้าซื้อกิจการ กลุ่มผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพ (Bio-based Products) อาทิ ไบโอดีเซล (Fatty Acid Methyl Ester) กลีเซอรีน บริสุทธิ์ (Refined Glycerin) และผลิตภัณฑ์จากน�้ ำมัน ในเมล็ดปาล์ม (Palm Kernel Oil Production) ใน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) และพลาสติก ชีวภาพ PLA ในโครงการนครสวรรค์ไบโอคอมเพล็กซ์ กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน (Circularity & Recycling) โดยการน� ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีการ ผลิตขั้นสูง ที่มีศักยภาพในการแปรสภาพขยะพลาสติก ให้มีคุณภาพ สามารถใช้งานได้ และตอบโจทย์การเป็น ผลิตภัณฑ์ยั่งยืน เช่น โครงการ ENVICCO โรงงาน รีไซเคิลพลาสติกมาตรฐานสากลระดับโลก โดย พลาสติกใช้แล้วสามารถน� ำกลับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล และอัพไซเคิล (End-to-End Waste Mangement) ผ่านโครงการ YOUเทิร์น แพลตฟอร์ม และโครงการ Upcycling Upstyling ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง บริษัทฯ กับพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนาแผนระบบ หมุนเวียนของผลิตภัณฑ์แบบครบวงจร (Circularity) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังก� ำหนดให้ใช้หลักความรับผิดชอบ ต่อผลิตภัณฑ์ (Product Stewardship) ซึ่งเป็นกรอบการ ด� ำเนินงานที่ประยุกต์หลักการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Design) และหลักการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment: LCA) มาใช้เป็นแนวทางใน การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยต่อการน� ำไปอุปโภคและบริโภค โดยมุ่งเน้นการ ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุดตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึง กระบวนการก� ำจัดเมื่อเป็นของเสียอีกด้วย Compensation-driven ด� ำเนินการจัดการก๊าซเรือน กระจกส่วนที่เหลือโดยการชดเชยผ่านการดูดซับคาร์บอน จากธรรมชาติ (Nature-based Solutions) การใช้ เทคโนโลยี เช่น การดักจับและกักเก็บคาร์บอนด้วย Carbon Capture and Storage (CCS) และในปี 2566 บริษัทฯ ก� ำลังท� ำการศึกษาเทคโนโลยีทางเลือกใหม่ๆ ที่จะน� ำมาใช้ดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Alternative Emerging Carbon Capture Technology) ร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. และมุ่งด� ำเนินการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการฟื้นฟูและเสริมสร้างสมดุล ระบบนิเวศของป่ามาอย่างต่อเนื่อง เพื่อกักเก็บคาร์บอน และสร้างคาร์บอนเครดิตส� ำหรับชดเชยก๊าซเรือนกระจก ส่วนที่เหลือหลังจากการด� ำเนินงาน โดยบริษัทฯ ได้ด� ำเนิน การปลูกป่าเพื่อขึ้นทะเบียนคาร์บอนเครดิต ทั้งในพื้นที่ ของบริษัทฯ และด� ำเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนต่างๆ ในหลายโครงการอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2556 บนพื้นที่รวมกว่า 6,000 ไร่ เช่น โครงการ ปลูกป่าชายเลนเพื่อประโยชน์จากคาร์บอนเครดิตกับทาง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) รวมถึงการต่อยอด ขยายผลในโครงการเดิม (โครงการฟื้ นป่ ารักษ์น�้ ำ เขาห้วยมะหาด โครงการป่านิเวศระยองวนารมย์ โครงการ ปลูกป่าชายเลน และโครงการปลูกต้นไม้ “ยิ่งปลูกยิ่งดี” GC x กทม.) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ลงนามสัญญาเข้าร่วม โครงการป่าชุมชนกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง เพื่อการบ� ำรุงรักษา ฟื้นฟู และปลูกป่าไม้ พร้อมกับได้รับคาร์บอนเครดิต ระยะเวลา 3 ปี จากการด�ำเนินโครงการ เป้าหมายการจัดการเรื่องการลดก๊าซเรือนกระจกจากการด� ำเนินธุรกิจ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่รายงานความยั่งยืนแบบบูรณาการ ประจ� ำปี 2566 เป้าหมายระยะยาวและเป้าหมายปี 2566 หน้า 152 เป้าหมายการจัดการพลังงาน ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่รายงานความยั่งยืนแบบบูรณาการ ประจ� ำปี 2566 เป้าหมายระยะยาวและเป้าหมายปี 2566 หน้า 152 103 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=