GC One Report 2023 [TH]

ทบทวนกระบวนการ Approved Customers/ Suppliers List (ACL/ASL) เพื่อก� ำหนดมาตรฐาน การประเมินคุณสมบัติลูกค้าอย่างยุติธรรมและโปร่งใส และขออนุมัติหลักการในการปรับปรุงกระบวนการ/ ระบบจาก Corporate Credit Committee เพื่อให้ สามารถคัดเลือกลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทบทวนประกาศต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้าง ปัจจุบันที่มีการประกาศปรับเปลี่ยนโครงสร้างของ สายงาน Long Term Innovation and Corporate Venturing Capital (LIC) เป็นสายงาน Innovation Growth Platforms and CVC (IGC) เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ดังนี้ 1.) ทบทวนและปรับปรุงประกาศคณะกรรมการ เทคโนโลยี โดยปรับเปลี่ยนกรรมการจาก LIC เป็น IGC 2.) ทบทวนประกาศคณะกรรมการ Long Term Innovation Committee (LTIC) 3.) ทบทวนประกาศคณะกรรมการพิจารณาการลงทุน ด้านงานวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมในรูปแบบ Corporate Venture Capital (CVC) และการ พัฒนาธุรกิจใหม่ (New Business Development) (CNB IC) สนับสนุนให้คู่ค้าเข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์เป็น แนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (CAC) 6. ดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในที่เหมาะสม จัดท� ำ CSA Prioritization โดยการประเมินความเสี่ยง กระบวนการและจัดกลุ่มการประเมิน CSA ให้มีความ สอดคล้องกับความเสี่ยงระดับองค์กร รวมถึงความเสี่ยง ที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ที่ส� ำคัญ เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงและการประเมิน การควบคุม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม และสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรตาม หลักการควบคุมภายใน ประสานงานหน่วยงานภายนอกและฝ่ายจัดการ น� ำเสนอข้อมูลที่จ� ำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบ เช่น Deloitte (ESG Reporting Trend), KPMG (New Global Internal Audit Standard) เป็นต้น 7. รักษาความน่าเชื่อถือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล ก� ำหนดให้เรื่องสภาพคล่องทางการเงินเป็นความเสี่ยง ระดับองค์กร มีการก� ำหนดเป้าหมายของระดับเงินสด คงเหลือขั้นต�่ ำ และมาตรการจัดการความเสี่ยง เพื่อ รองรับกรณีสภาพคล่องทางการเงินต�่ ำกว่าเป้าหมาย โดยก� ำหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงและรายงาน ต่อฝ่ายบริหารความเสี่ยงองค์กร (S-RC) เป็นประจ� ำ ทุกเดือน เพื่อน� ำไปรวบรวมรายงานกระดานความเสี่ยง ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร (ERMC) และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (RMC) ระดับ Board รายไตรมาส ก� ำหนดข้อสมมติฐานทางธุรกิจ (Scenario Case) และ มาตรการ เพื่อรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติและมี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อผลประกอบการในระดับ สูง (Playbook) โดยค� ำนึงถึงความอยู่รอดขององค์กร ในทุกสถานการณ์ รวมถึงมาตรการรักษาสภาพคล่อง ทางการเงินของบริษัทฯ และจะมีการประเมินและ ติดตามผล เพื่อรายงานในที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นประจ� ำทุกเดือน จัดท� ำ COSO Focus Points เพื่อเป็นแนวทางให้ ผู้ตอบแบบประเมินพิจารณาการควบคุมที่เกี่ยวข้องให้ ครอบคลุมประเด็นส� ำคัญ ตามแบบประเมินของ ส� ำนักงาน ก.ล.ต. รวมถึงกรอบการควบคุมภายใน COSO Internal Control Integrated Framework 2013 เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่ เพียงพอ เหมาะสมต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ บริษัทฯ และเป็นไปตามมาตรฐานสากล คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น� ำ (Governing Body) ขององค์กร โดยก� ำหนดให้มีกระบวนการ พิจารณาและทบทวนการน� ำหลักปฏิบัติตามหลักการก� ำกับดูแล กิจการที่ดี ส� ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 หรือ CG Code ไปปรับใช้ตามบริบททางธุรกิจของบริษัทฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้งได้ประเมินผลการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติใน CG Code เพื่อให้มั่นใจว่าผลการปฏิบัติ (Outcome) มีความเหมาะสม หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยผล การทบทวนและประเมินการปฏิบัติของบริษัทฯ ตามหลักปฏิบัติ ใน CG Code แต่ละข้อ ในรอบปี 2566 พบว่า บริษัทฯ สามารถ น� ำหลักปฏิบัติไปปรับใช้ตามหลัก Apply or Explain ได้ครบถ้วน เป็นส่ วนใหญ่ โดยหลักปฏิบัติที่บริษัทฯ ยังไม่สามารถ ด� ำเนินการหรือยังไม่ได้น� ำมาปรับใช้ ได้มีการบันทึกเหตุผลไว้ เป็นส่วนหนึ่งของมติคณะกรรมการแล้ว สรุปดังนี้ 147 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=