GC One Report 2023 [TH]

บริษัทฯ ได้เห็นถึงการยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ให้ดีขึ้น และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนพิการได้มีโอกาสแสดง ความสามารถ ซึ่งก่อให้เกิดการมีรายได้ พึ่งพาตนเองได้ และ ลดภาระของครอบครัวและสังคมที่ต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้คนพิการเป็นพลังส� ำคัญในการเสริม สร้างทางเศรษฐกิจของครอบครัวและประเทศต่อไป โดยเฉพาะ กลุ่มคนพิการที่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อก� ำหนดมาตรการส� ำคัญเกี่ยวกับการส่งเสริม อาชีพและคุ้มครองการมีงานท� ำของคนพิการ โดยในปี 2566 จ� ำนวน 45 คน บริษัทฯ ได้ด� ำเนินการตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มาตรา 33 โดยเป็น คนพิการที่เป็นพนักงานประจ� ำจ� ำนวน 3 คน และมาตรา 35 โดยมีการส่งเสริมและสร้างรายได้ให้กับคนพิการ จ� ำนวน 42 คน ซึ่งประสานงานกับสมาคมคนพิการจังหวัดระยองและมูลนิธิ สายรุ้ง เพื่อคนพิการ ท� ำการคัดเลือกคนพิการจากเทศบาล รอบข้างบริษัท จ� ำนวน 4 เทศบาล จ� ำนวน 22 คน เพื่อส่งเสริม การประกอบอาชีพ ประเมินรายได้และประสานงานผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ความรู้ในการสร้างอาชีพให้กับคนพิการ ท� ำให้คนพิการ มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 60 เทียบกับรายได้ก่อนได้รับการ ช่วยเหลือจากบริษัทฯ นอกจากนี้ ได้ร่วมกับบริษัท วัลแคน โคอะลิชั่น จ� ำกัด จ� ำนวน 20 คน ในการพัฒนา AI เพื่อใช้ใน แอปพลิเคชันคัดกรองโรคซึมเศร้า (MayWe) ให้พนักงาน บริษัทฯ ได้ใช้งาน และโครงการ Service GC โดยให้คนพิการที่มี ความสามารถด้าน IT มาช่วยปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างๆ เพื่อลดเวลาการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยน� ำร่องในหน่วยงาน Employee Relations and Benefits ซึ่งให้คนพิการมาช่วย ปฏิบัติงานเบิกเงินช่วยเหลือค่าเล่าเรียนบุตร สามารถลดเวลา การปฏิบัติงานของพนักงานลงได้ 1,274 นาที/เดือน หรือ คิดเป็นร้อยละ 35 ของเวลาการปฏิบัติงานทั้งหมด บริษัทฯ ได้จัดท� ำการส� ำรวจความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร เป็นประจ� ำทุกปี โดยที่ปรึกษาภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของพนักงานในด้านต่างๆ ซึ่งในปีนี้ได้ มีการปรับเปลี่ยนโมเดลในการส� ำรวจเพื่อให้ตอบโจทย์กับ บริบทการเปลี่ยนแปลงในด้าน Generation และรูปแบบการ ท� ำงานที่เปลี่ยนไป และเพื่อให้ผลข้อมูลจากการส� ำรวจสามารถ น� ำมาก� ำหนดแผนการด� ำเนินงานที่ตอบโจทย์กับความต้องการ ของพนักงานมากขึ้น โดยในปี 2566 ผลคะแนนของบริษัทฯ อยู่ที่ร้อยละ 65 ซึ่งอยู่ในระดับ Moderate Zone เมื่อเทียบกับ ระดับโลก โดยบริษัทฯ มีเป้าหมายในการยกระดับคะแนน ความผูกผันของพนักงานให้อยู่ในระดับ Top Quartile ต่อไป อย่างไรก็ตาม ในปี 2566 บริษัทฯ ได้ด� ำเนินการจัดท� ำแผนงาน ระดับองค์กรใน 4 เรื่อง ได้แก่ Performance Management, Career & Development, Work Life Balance และ Talent & Staffing โดยมีแนวทางที่ด� ำเนินการปรับปรุงเพิ่มเติม ดังนี้ 1. Retain หมายถึง การท� ำให้ Workload ของพนักงาน มีความเหมาะสม และมี Work/Life Balance มากขึ้น โดย บริหารอัตราก� ำลังเพื่อให้เกิดการกระจาย Workload ได้อย่างเหมาะสม เสริมสร้างและพัฒนาการประชุมให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้พนักงานได้มีเวลาจัดการงานและท� ำกิจกรรม ส่วนตัวมากขึ้น 2. Revisit หมายถึง การท� ำให้พนักงานรู้สึกมีพลังใจที่จะ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก� ำลังความสามารถ โดย สร้าง Culture Alignment เพื่อให้พนักงานเห็นเป้าหมาย และมีวิถีการท� ำงานร่วมกัน สร้าง Network และความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน เพื่อให้ พนักงานมีพลังใจในการท� ำงาน ร่วมมือกันขับเคลื่อน องค์กร 3. Reskill หมายถึง การท� ำให้พนักงานมีขีดความสามารถที่ พร้อมในการขับเคลื่อนองค์กร โดย เสริมสร้างการเป็น People Manager ให้กับหัวหน้า งาน เพื่อให้สามารถพัฒนาทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทบทวน Career Path เพื่อวางแผนการพัฒนาและ ความก้าวหน้าในสายอาชีพ จากการด� ำเนินการจัดท� ำแผนงานระดับองค์กร เพื่อยกระดับ ความผูกพันของพนักงานและการเปลี่ยนแปลงโมเดลในการท� ำ แบบส� ำรวจ บริษัทฯ จึงได้มีการจัดสื่อความกับพนักงานทั่วทั้ง องค์กรผ่านทาง Microsoft Teams โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ พนักงานมีความเข้าใจและเห็นความส� ำคัญของการตอบแบบ ส� ำรวจความผูกพันของพนักงานผ่านการให้ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ต่อบริษัทฯ และเพื่อให้พนักงานได้รับทราบว่าบริษัทฯ ได้ให้ความส� ำคัญในการรับฟังเสียงสะท้อนของพนักงาน จึงได้ มีการก� ำหนดแผนงานเพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการของ พนักงาน และเสริมสร้างให้เกิดความผูกพันของพนักงานที่มี ต่อองค์กรต่อไป 170

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=