1. การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย แบ่งเป็นการด� ำเนินงาน 2 แบบ 1.1) ความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Safety) ความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Safety) ถือเป็นประเด็น ที่ส� ำคัญประเด็นหนึ่งในการด� ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อ ควบคุมสถิติอุบัติเหตุให้มากขึ้น เเละให้เป็นตามเป้าหมาย First Quartile ของ International Association of Oil & Gas Producers (IOGP) จึงน� ำแนวคิดวินัยในการปฏิบัติการ Operational Discipline (OD) ตาม DuPont Methodology และกลยุทธ์ Engineering Control เข้ามาบริหารจัดการความ ปลอดภัยที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการบาดเจ็บของ ผู้ปฏิบัติงาน และส่งผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องกับการท� ำงานของ ผู้มีส่วนได้เสียตลอดห่วงโซ่อุปทานด้วย บริษัทฯ จึงจัดท� ำ โครงการด้านความปลอดภัยส่วนบุคคล ดังนี้ ยกระดับกระบวนการตรวจสอบผู้รับเหมา (Early detect low-performance contractors) บริษัทฯ ด� ำเนินการยกระดับการจัดการด้านความปลอดภัย ส� ำหรับผู้รับเหมา (Contractor Safety Management) โดยก� ำหนดกระบวนการตรวจสอบผู้รับเหมา (Early detect low-performance contractors) เพื่อเป็นการป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นกับผู้รับเหมา ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 90 ของอุบัติเหตุทั้งหมด โดยด� ำเนินการยกระดับ ดังต่อไปนี้ ยกระดับกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลการ ท� ำงานรายวันโดยหัวหน้างานและเจ้าของพื้นที่ ด� ำเนินการ Coaching & Feedback เป็นรายสัปดาห์ ส� ำหรับผู้รับเหมาที่ Low-Performance น� ำผลการท� ำงานสู่กระบวนการประเมินผลคู่ค้าร่วมกับ ทีมจัดซื้อ (รายไตรมาสและรายปี) โครงการลดอุบัติเหตุที่มือด้วยกระบวนการ Engineering control บริษัทฯ ด� ำเนินการยกระดับเพื่อแยกความเสี่ยงจาก ผู้ปฏิบัติงาน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ พิเศษ (Special Tool) ส� ำหรับงานต่างๆ ทางด้าน วิศวกรรมบ� ำรุงรักษา โดยด� ำเนินการยกระดับ ดังต่อไปนี้ ก� ำหนดกลุ่มงานที่มีความเสี่ยงสูงส� ำหรับอุบัติเหตุที่ มือออกเป็น 6 กลุ่มอุปกรณ์ คือ อุปกรณ์ถอดประกอบ หน้าแปลน, อุปกรณ์ถ่าง (Hydraulic flange spreader), อุปกรณ์ประกอบ (Flange alignment), อุปกรณ์ เคลื่อนย้ายท่อ, อุปกรณ์ยก Grating ยกระดับการก� ำกับดูแลโดยก� ำหนดในทุกสัญญาจ้าง (TOR) ระบุบังคับใช้ 6 Special tools ตามกลุ่ม อุปกรณ์ที่ก� ำหนด รวมถึงปรับเพิ่มข้อก� ำหนดเรื่อง Special tools ในการคัดเลือกและประเมินผลผู้รับเหมา ยกระดับการก� ำกับดูแลหน้างานอย่างใกล้ชิด ผ่านกระบวนการ Permit to work และ Operational Discipline (OD) บริษัทฯ ยกระดับการก� ำกับดูแลที่หน้างานให้เข้มแข็ง (Strengthen Execution on-site) ผ่านกระบวนการ Permit to work และ Operational Discipline (OD) โดย เน้นย�้ ำ Key players ให้เข้าใจและด� ำเนินการตามขั้นตอน ส� ำคัญ (Critical steps) รวมถึงการพัฒนาระบบ e-Permit system มาใช้งาน ทั้งยังน� ำระบบ Digital มาพัฒนา ต่อยอดไปที่ Lock out/Tag out (LOTO) และ Job Safety Environment Analysis (JSEA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการควบคุมและการติดตาม 1.2) ความปลอดภัยในกระบวนการผลิต (Process Safety) บริษัทฯ ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในกระบวนการผลิต อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน โดยประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการท� ำงาน รวมถึงได้พัฒนาและยกระดับโครงการ น� ำร่องต่างๆ ที่ประสบความส� ำเร็จให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดย บริษัทฯ ได้จัดท� ำโครงการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิต ดังนี้ เสริมความแข็งแรง Bowtie Barrier Validation บริษัทฯ ได้น� ำการวิเคราะห์ความเสี่ยงแบบ Bowtie analysis มาประยุกต์ใช้ เพื่อประเมินอันตรายหรืออุบัติเหตุที่อาจ เกิดขึ้น รวมถึงผลกระทบจากเหตุการณ์ดังกล่าวที่อาจน� ำ ไปสู่อุบัติการณ์ร้ายแรง (Major Accident Event: MAE) โดยได้ยกระดับการตรวจประเมินประสิทธิผลของการ ด� ำเนินการในแต่ละ Bowtie ด้วยการน� ำข้อมูลดังกล่าวมา ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ โดยผสานเข้ากับ การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ส� ำหรับการ บริหารจัดการความปลอดภัยในกระบวนการผลิตรายปี ตามข้อบังคับของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการต่างๆ ที่ก� ำหนดจะมี ความพร้อม เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางกระบวนการ ผลิต โครงการ Electronic Field Risk Assessment (e-FRA) บริษัทฯ ได้น� ำระบบ Field Risk Assessment มาด� ำเนินการ เพื่อช่วยพัฒนาความสามารถผู้ปฏิบัติงาน ให้สามารถ ค้นหาความเสี่ยงในกระบวนการผลิต โดยได้ยกระดับน� ำ Digital มาพัฒนาเป็น e-FRA เพื่อบันทึกและติดตามการ แก้ไขความเสี่ยงที่พบ รวมถึงสามารถน� ำมาวิเคราะห์ ความเสี่ยงด้านกระบวนการผลิต และก� ำหนดมาตรการ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง (Major accident) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 196
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=