GC One Report 2023 [TH]

ยกระดับการด� ำเนินงาน PSM Committee และ Inspirational Leadership Program (ILP) บริษัทฯ ยกระดับเรื่อง Process Safety Management (PSM) และ Inspirational Leadership Program (ILP) โดยการทบทวน Readiness of Plant PSM Committee ทั้งทางด้านการก� ำกับดูแล (Governance Process) และ ด้าน Capability ของคณะกรรมการ Plant PSM Committee เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการก� ำกับดูแลอย่างถูกต้อง เข้มแข็ง ตามมาตรฐานที่ก� ำหนด รวมทั้งเป็นการกระตุ้น Felt leadership เพื่อขับเคลื่อน Safety culture ทั้งนี้ จากการยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยอย่างจริงจัง ส่งผลให้การด� ำเนินงานด้านความ ปลอดภัยจากการท� ำงาน (Total Recordable Injury Rate: TRIR) อัตราความถี่ของการบาดเจ็บจากการท� ำงานจนถึงขั้น หยุดงาน (Lost Time Injury Frequency Rate: LTIFR) ในปี 2566 ยังอยู่ใน First Quartile ระดับสากล (IOGP) รวมทั้ง อุบัติเหตุในกระบวนการผลิต (Process Safety Event) มีแนวโน้มลดลง โดยทุกครั้งที่มีการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุเกิดขึ้น จากการท� ำงาน บริษัทฯ จะท� ำการสืบสวนหาสาเหตุของ เหตุการณ์ดังกล่าว เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงการท� ำงาน และก� ำหนดมาตรการป้องกันการเกิดซ�้ ำที่มีประสิทธิภาพต่อไป เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรปลอดอุบัติเหตุ (Zero Accident Organization) 2. การบริหารจัดการอาชีวอนามัย (Occupational Health) บริษัทฯ ให้ความส� ำคัญต่อสุขภาพของพนักงานเป็นอย่างมาก และมุ่งมั่นในการพัฒนาสู่มาตรฐานระดับสากลอย่างต่อเนื่อง จึงได้ น� ำ Hea l th Per formance Index (HPI ) จาก IPIECA-IOGP ซึ่งเป็นระบบการประเมินมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยมาประยุกต์ใช้ในบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ได้มีการ จัดท� ำโครงการด้านอาชีวอนามัย ดังนี้ โครงการ GC Health Care System (GCHS) บริษัทฯ น� ำเทคโนโลยีมาพัฒนาและบูรณาการระบบ เพื่อยกระดับการดูแลด้านสุขภาพของพนักงานในทุกๆ ด้าน ให้สามารถเข้าถึงการรับบริการจากแพทย์ ข้อมูลสุขภาพ ของตนเองได้ทุกที่ ทุกเวลา รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดท� ำโครงการดูแลและส่งเสริมด้านสุขภาพที่เหมาะสม ให้แก่พนักงานต่อไป ตัวอย่างโปรแกรม เช่น e-Health Book, Health Risk Assessment, Telemedicine เป็นต้น โครงการด้านการยศาสตร์ บริษัทฯ เสริมสร้างให้พนักงานมีความรู้และตระหนัก เพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งจัดหา Software เพื่อ สนับสนุนการประเมินความเสี่ยง และจัดหาอุปกรณ์ที่ เหมาะสม เพื่อสุขภาพที่ดีของพนักงาน และลดอัตราการ เข้ารับการรักษาด้านการยศาสตร์ ทั้งนี้ จากการยกระดับการบริหารจัดการอาชีวอนามัยอย่าง จริงจัง ส่งผลให้ในปี 2566 พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูล สุขภาพได้ง่ายขึ้น และสามารถรวบรวมข้อมูลน� ำไปสู่การวิเคราะห์ ผลสุขภาพเชิงลึก เพื่อหาแนวทางและพัฒนาโครงการเพื่อ ส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับพนักงานได้มากขึ้น ทั้งโรค จากการท� ำงานและปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ (Healthy workplace, Healthy Living) 3. การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม แบ่งเป็นการด� ำเนินงาน 2 แบบ 3.1) รักษาความเป็นผู้น� ำด้านสิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์ประเมินของ DJSI บริษัทฯ ให้ความส� ำคัญในการด� ำเนินธุรกิจที่ไม่กระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อคงไว้ซึ่ง ความเป็นผู้น� ำด้านสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ประเมินของ DJSI จึงได้น� ำกลยุทธ์การเสริมสร้างวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมผ่าน 5Rs (Reduce, Reuse, Recycle, Refuse, Renewable) มาใช้ใน การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และสร้างสมดุลระหว่างการ จัดการทรัพยากรควบคู่กับการด� ำเนินธุรกิจที่ยั่งยืน ตัวอย่าง โครงการ Operational Eco-Efficiency ต่างๆ ดังต่อไปนี้ การบริหารจัดการทรัพยากรและของเสีย บริษัทฯ มุ่งมั่นบริหารจัดการทรัพยากรและของเสียอย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ครอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จนถึงกระบวนการผลิต เพื่อลด ปริมาณของเสียและมลพิษที่อาจจะเกิดขึ้นให้เหลือน้อย ที่สุด และน� ำวัสดุที่ใช้แล้วหรือไม่ได้ใช้ กลับมาใช้ประโยชน์ ทั้งในกระบวนการผลิตและพื้นที่ส� ำนักงานผ่านโครงการ ดังต่อไปนี้ โครงการ Waste Optimization ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การลดน�้ ำเสียส่งก� ำจัดตั้งแต่แหล่งก� ำเนิดจาก กิจกรรมล้างท� ำความสะอาดถังเก็บ (Tank Cleaning) ของพื้นที่โรงกลั่นน�้ ำมัน โดยการทบทวนขั้นตอนวิธี การจัดการน�้ ำเสียและคุณภาพน�้ ำเสีย เพื่อพิจารณา ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยน� ำน�้ ำเสียที่เกิดจาก กิจกรรม เข้าระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียทดแทนการส่งก� ำจัด ภายนอก ซึ่งส่งผลให้บริษัทฯ สามารถลดการส่งก� ำจัด น�้ ำเสียได้กว่า 140 ตัน โครงการหยุดซ่อมบ� ำรุงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Turnaround) ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การรื้อ ฉนวนกันความร้อนให้เสียหายน้อยที่สุด การจัดเก็บ ฉนวนกันความร้อนในภาชนะที่เหมาะสม และการจัด เตรียมพื้นที่จัดเก็บให้อยู่ในสภาพดีไม่เปียกน�้ ำ ซึ่ง เป็นการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน โดย ในปี 2566 บริษัทฯ สามารถน� ำฉนวนกันความร้อน กลับมาใช้ได้เฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50 ส� ำหรับการจัดการด้านการบริหารจัดการของเสียของบริษัทฯ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้บนเว็บไซต์ : https://sustainability.pttgcgroup.com/th/environment/ waste-management/waste-management-target-and-performance 197 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=