27 มกราคม 2566 24 เมษายน 2566 8 สิงหาคม 2566 28 พฤศจิกายน 2566 GC จัดงานประชุมรับรองรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง กิจการยุโรปและการต่างประเทศของฝรั่งเศส บริษัทฯ โดย CEO ในฐานะประธานสภาธุรกิจฝรั่งเศส-ไทย (France-Thailand Business Forum: FTBF) (สภาธุรกิจฯ) เป็นเจ้าภาพจัดงานประชุมรับรอง ฯพณฯ นายออลีวีเย แบ็ชต์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกิจการยุโรปและการต่างประเทศ และ ฯพณฯ นายตีแยรี มาตู เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจ� ำ ประเทศไทย และคณะ ภายใต้วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยและฝรั่งเศส ผ่านความร่วมมือ ด้านเศรษฐกิจและการส่งเสริมโอกาสการลงทุนและความร่วม มือระดับเอกชน โดยสภาธุรกิจฯ มีบทบาทส� ำคัญในการสนับสนุนรัฐบาล ฝรั่งเศสในการส่งเสริมและดึงดูดการลงทุนผ่านกรอบ นโยบาย France 2030 ซึ่งรัฐบาลฝรั่งเศสมีมาตรการส่งเสริม การลงทุนในโครงการที่เกี่ยวกับ Decarbonization พร้อม งบประมาณสนับสนุน นอกจากนี้ ปี 2566 ยังเป็นปีส� ำคัญ ที่รัฐบาลไทยและฝรั่งเศสก� ำหนดให้เป็นปีแห่งการส่งเสริม ความร่วมมือด้านนวัตกรรมร่วมกันภายใต้แนวคิด “2023 Thailand-France Year of Innovation” GC ร่วมแสดงความยินดีในการที่ allnex ฉลองความส� ำเร็จการ ก่อสร้างสายการผลิตส� ำหรับศูนย์กลางการผลิตในDushanPort มณฑล Jiaxing สาธารณรัฐประชาชนจีน บริษัทฯ ร่วมแสดงความยินดีกับ Mr. Miguel Mantas CEO allnex และ Mr. Ruben Mannien Senior Executive Vice President Asia Pacific ในการที่ al lnex ผู้น� ำด้านความยั่งยืนและนวัตกรรม เม็ดพลาสติกส� ำหรับการเคลือบผิวอุตสาหกรรม ฉลองความส� ำเร็จ การก่อสร้างสายการผลิตส� ำหรับศูนย์กลางการผลิตใน Dushan Port ศูนย์กลางการผลิตแห่งใหม่ของ allnex ขนาด 100,000 ตารางเมตรนี้ ตั้งอยู่ที่ Dushan Port Economic Development Zone ในเมือง Pingchu มณฑล Jiaxing สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี 15 สายการผลิต ที่รองรับการผลิต High-performance resins ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมด้านนวัตกรรมสีเขียว และรองรับความต้องการของตลาดใน สาธารณรัฐประชาชนจีนและตลาดโลกด้านเม็ดพลาสติก สารเคลือบ และสารเติมแต่ง รวมถึงด� ำเนินการผลิตตามมาตรฐานการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมระดับสากลอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ ได้เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในช่วงไตรมาส 4 ปี 2566 โดยศูนย์กลางการผลิตแห่งใหม่นี้จะผลักดัน การเสริมสร้างบทบาทของ allnex ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ให้บรรลุ ตามเป้ าหมายที่ตั้งไว้ สองเท่ า ในปี 2569 พร้อมต่อยอดการ เป็นอันดับหนึ่งของโลกด้านการ เคลือบผิวอุตสาหกรรม ผลักดันกลยุทธ์การแสวงหาโอกาสใหม่ เพื่อสร้างการเติบโตในธุรกิจใหม่หรือในต่างประเทศ GCจับมือMHI ร่วมศึกษาการใช้ ไฮโดรเจนแอมโมเนีย และเทคโนโลยี CCS เพื่อพัฒนาโรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ มุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero บริษัทฯ ลงนามความร่วมมือกับ บริษัท มิตซูบิชิ เฮฟวี อินดัสทรีส์ เอเชีย แปซิฟิก จ� ำกัด หรือ MHI-AP เพื่อร่วมศึกษาเทคโนโลยีการพัฒนาโรงงาน ปิโตรเคมีขนาดใหญ่ (Petrochemical Complex) สอดรับตามแผนการ ขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อการเติบโตอย่างแข็งแกร่งและยั่งยืนไปพร้อมกับ พันธมิตร ภายใต้แนวคิด “Together to Net Zero” ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกลงให้ได้ร้อยละ 20 ภายในปี 2573 และการมุ่งสู่เป้าหมาย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ภายในปี 2593 การลงนามความร่วมมือศึกษาเทคโนโลยีการพัฒนาโรงงานปิโตรเคมี ขนาดใหญ่นี้ ครอบคลุมระยะเวลาทั้งสิ้น 4 ปี มี 2 เป้าหมายหลักคือ 1) การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบความเป็นไปได้ในการใช้ไฮโดรเจนและ แอมโมเนียเป็นเชื้อเพลิงส� ำหรับกังหันแก๊ส (Gas Turbine) และเทคโนโลยี การดักจับและจัดเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CCS) ในกระบวนการลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนจากเครื่องก� ำเนิดไฟฟ้า 2) การศึกษาหาแนวทาง การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพ ในระบบดักจับและจัดเก็บก๊ าซ คาร์บอนไดออกไซด์ให้เหมาะสม ส� ำหรับกระบวนการผลิตไฮโดรเจน หรือ Steam Methane Reforming (SMR) GC จับมือ Kawasaki ศึกษาและพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานไฮโดรเจน มุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero ในปี 2593 บริษัทฯ และ บริษัท Kawasaki ร่วมลงนามความร่วมมือศึกษา และพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานไฮโดรเจน เพื่อเป็น ส่วนหนึ่งในการแก้ไขและชะลอปัญหาจากภาวะโลกร้อน พร้อมมุ่งสู่ เป้าหมาย Net Zero ในปี 2593 ณ ห้องประชุม Chan ชั้น 3 โรงแรม คลาสสิค คามิโอ บริษัทฯ และ Kawasaki ได้ร่วมกันศึกษาและพัฒนาโครงการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานไฮโดรเจน หรือ Hydrogen Turbine Generator โดยการน� ำไฮโดรเจนที่เหลือจากกระบวนการผลิตของโรงงาน ภายในกลุ่มบริษัทฯ มาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าแบบคาร์บอนต�่ ำ เพื่อ น� ำมาใช้ทดแทนการผลิตไฟฟ้า จากก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็น โครงการที่สามารถช่วยลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ บริษัทฯ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมให้กระบวนการผลิต เป็น Low Carbon Process 22
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=