ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factors) บริษัทฯ ตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยงทั้งภายในและภายนอก ที่อาจส่งผลกระทบต่อการด� ำเนินธุรกิจ โดยได้ก� ำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง เพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และช่วยให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ที่ก� ำหนดไว้ โดยสามารถแบ่ง ปัจจัยเสี่ยงระดับองค์กรออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการด� ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน (Business as Usual Risk) ปัจจัยความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญ ปัจจัยความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ และความปลอดภัย (Operational and Safety) เนื่องด้วยธุรกิจหลักของบริษัทฯ เป็นโรงงาน อุตสาหกรรมเคมีและการกลั่นขนาดใหญ่ ดังนั้นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย กฎระเบียบและมาตรฐานการดำ �เนินงาน เสถียรภาพการผลิตของโรงงาน ตลอดจน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และต้นทุน ในการผลิตต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ล้วนเป็น ปัจจัยสำ �คัญในการดำ �เนินธุรกิจที่ส่งผล ต่อความสามารถในการแข่งขัน บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะยกระดับสร้างความเป็น เลิศด้านปฏิบัติการโดยตั้งเป้าหมายที่จะ มีผลการดำ �เนินงานในระดับ 1st Quartile ทั้งในด้านความปลอดภัยและเสถียรภาพ ทางด้านการผลิตของโรงงานต่างๆ ให้มี ความมั่นคง สามารถทำ �การผลิตได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่เกิดเหตุการณ์ที่ต้องหยุดการ ผลิตโดยไม่คาดคิดหรือไม่เป็นไปตามแผน (Unplanned Shutdown) ยกระดับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิต (Process Safety Management: PSM) ให้อยู่ในระดับสากล โดยให้ มีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยผ่านการท� ำ Bowtie Assessment และการท� ำ Bowtie Barrier Validation รวมถึงติดตาม ตัวชี้วัด PSM Leading Indicators เป็นประจ� ำเพื่อตรวจสอบความ พร้อมใช้งานของระบบป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง ในทุกโรงงาน รวมทั้งมีการตรวจประเมินการจัดการความปลอดภัย กระบวนการผลิต โดยผู้ตรวจประเมินทั้งภายในและภายนอก ก� ำหนดมาตรฐานและส่งเสริมให้พนักงานใช้เครื่องมือ Field Risk Assessment ในการชี้บ่งอันตราย ประเมินความเสี่ยงและการจัดการ ความเสี่ยงในกระบวนการท� ำงาน ตามกระบวนการ Risk Identification and Risk Treatment รวมทั้งติดตามตรวจสอบและก� ำกับดูแลการ ปฏิบัติตามมาตรฐาน ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ ติดตามเสถียรภาพและสมรรถนะเครื่องจักร (Reliability & Integrity) ติดตามเสถียรภาพทางด้านการผลิตของโรงงานต่างๆ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ (Benchmarking) และด� ำเนินโครงการเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพด้านการผลิตของโรงงาน โดยมีการติดตามความก้าวหน้า ของโครงการต่างๆ เป็นประจ� ำ ส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัย B-CAREs และวินัยในการท� ำงาน (Operational Discipline) ส� ำหรับพนักงานและผู้รับเหมา โดยให้ความ ส� ำคัญกับการน� ำมาตรการไปปฏิบัติที่หน้างานอย่างจริงจังและเข้มแข็ง ผ่านผู้ปฏิบัติงาน อาทิ การสื่อสารมาตรการความปลอดภัยก่อนเริ่มงาน (Effective Toolbox Talk), Management Safety Walk และโครงการ Felt Leadership Program เพื่อสนับสนุนให้ผู้บริหารและหัวหน้างาน เป็นแบบอย่างด้านความปลอดภัย เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานทุก ระดับสามารถท� ำงานได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดย ได้ก� ำหนดให้ Total Recordable Injury Rate (TRIR) เป็น Corporate and Individual KPIs ของพนักงานทุกระดับทั้งองค์กร ติดตามทิศทางนโยบายของการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย กฎระเบียบ และ มาตรฐานที่อาจกระทบต่อการด� ำเนินงานของโรงงาน และด� ำเนิน มาตรการเพื่อบรรเทาผลกระทบ โดยได้ร่วมเป็นผู้แทนสภาอุตสาหกรรมฯ เข้าร่วมชี้แจงในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการร่างกฎหมายการควบคุม สารอินทรีย์ระเหยง่ายจากโรงงานอุตสาหกรรม 88
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=