GC One Report 2023 [TH]

ปัจจัยความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญ ปัจจัยความเสี่ยงด้านการมุ่งสู่เป้าหมาย การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Decarbonization Implementation) เพื่อขับเคลื่อนความเป็นผู้นำ �ด้านความยั่งยืน ระดับสากล บริษัทฯ ได้ประกาศเป้าหมาย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ (Net Zero) ด้วยเป้าหมายระยะกลางใน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง 20% ภายในปี 2573 (ค.ศ. 2030) และปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ในปี 2593 (ค.ศ. 2050) ทั้งนี้ ประเด็นความเสี่ยง ที่จำ �เป็นจะต้องได้รับการบริหารจัดการเพื่อ มุ่งสู่เป้าหมายดังกล่าวครอบคลุมถึงความ ท้าทายในการผลักดันโครงการเพื่อลดการ ปลดปล่อยคาร์บอนทั้ง 3 แนวทางหลัก ได้แก่ Efficiency-driven, Portfolio-driven และ Compensation-driven ให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนที่ได้วางไว้ ตลอดจน นโยบายของภาครัฐทั้งด้านการกำ �กับ และ สนับสนุนการประกอบธุรกิจให้สอดคล้อง กับกติกาสากล Climate Regulations อาทิ พลังงานทางเลือก (Alternative Energy) พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) นโยบายเปิดเสรี Third Parties Access รวมถึงเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ในภาพรวม บริษัทฯ ติดตาม วิเคราะห์ Climate Scenarios และน� ำมา ประกอบการก� ำหนดกลยุทธ์และการจัดท� ำแผนธุรกิจ Efficiency Driven ก� ำหนดตัวชี้วัดการด� ำเนินงานด้าน Greenhouse Gas Emissions และ Energy Efficiency เป็นหนึ่งใน Corporate KPI รวมทั้งมีการ ติดตามผลและความก้าวหน้าการด� ำเนินงานเป็นประจ� ำทุกเดือน วิเคราะห์และรายงานการใช้พลังงานของโรงงานต่างๆ เชิงลึก โดย ผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ และกระตุ้นให้มีการท� ำ Energy Efficiency Improvement ในโรงงานผ่านการจัดท� ำ ISO 50001, CPI Process และ Operational Excellence Framework รวมถึงจัด Workshop เพื่อหา Quick Win Initiatives เพิ่มเติมในการ ลดการปลดปล่อย GHG ก� ำหนดแผนและผลักดันการจัดหา Renewable Energy รวมทั้งติดตาม แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยี Clean Energy และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ และความเหมาะสมในการน� ำมาประยุกต์ใช้ Portfolio Driven ก� ำหนดกลยุทธ์การปรับพอร์ตโฟลิโอการลงทุน แผนการด� ำเนินโครงการ และศึกษาวิเคราะห์ นโยบาย แนวโน้มการพัฒนาธุรกิจคาร์บอนต�่ ำเพื่อ แสวงหาโอกาสการลงทุน ศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับลดสัดส่วนของธุรกิจที่ปลดปล่อย คาร์บอนสูง สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เดิมของบริษัทฯ โดยใช้ประโยชน์จาก ผลของการมี Carbon Footprint ที่ลดลงตาม Decarbonization Pathway ท� ำงานร่วมกับภาครัฐ ภาคประชาสังคม เพื่อให้ข้อมูลประกอบการ พิจารณาปรับนโยบายให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามบริบทของ ประเทศไทย ตลอดจนการขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และ Ecosystem ของประเทศไทย Compensation Driven ศึกษาและเร่งพัฒนาความพร้อมของการพัฒนาธุรกิจ Carbon Capture รวมทั้งติดตามการพัฒนา Supportive Ecosystem โดยก� ำหนด บทบาทที่ชัดเจนในการท� ำงานร่วมกับสมาคม/เครือข่าย ในการผลักดัน นโยบาย กฎหมาย แนวทางสนับสนุนและจัดท� ำ Roadmap ให้ สอดคล้องกับแผนงานของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อให้สามารถพัฒนาโครงการ ได้ในระยะเวลาและต้นทุนที่เหมาะสม แสวงหาเทคโนโลยี Carbon Capture ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและ ต้นทุนต�่ ำลง เพื่อน� ำมาประยุกต์ใช้ภายในโรงงานของบริษัท ท� ำงานร่วมกับภาครัฐในการพัฒนาโครงการปลูกป่าเพื่อ Carbon Credit ภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม 93 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=