ปัจจัยความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญ การเผชิญหน้าทางภูมิเศรษฐศาสตร์ (Geoeconomic Confrontations) ความตึงเครียดทางการเมืองในภูมิภาค ต่างๆ และการใช้ข้อกีดกันทางเศรษฐกิจเป็น เครื่องมือในการสร้างข้อได้เปรียบทาง การเมือง อาจทำ �ให้บริษัทต่างๆ เผชิญความ ยากลำ �บากในการร่วมมือด้านเศรษฐกิจ เกิดห่วงโซ่อุปทานที่สั้นลง ส่งผลกระทบต่อ ต้นทุนการผลิต ความผันผวนของทิศทาง เศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนในการลงทุน และ ความช่วยเหลือและเงินอุดหนุนจากรัฐที่ขาด เสถียรภาพ ส่งผลกระทบในการดำ �เนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจการเมือง รวมถึงการ ประกาศมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มาตรการกีดกันทางการค้ าของ ประเทศต่างๆ ที่อาจมีผลต่อการลงทุนและผลประกอบการอย่างใกล้ชิด เพื่อน� ำมาประเมินผลกระทบต่อแผนธุรกิจ และแผนกลยุทธ์ระยะยาว ขององค์กร โดยก� ำหนดให้มีการติดตาม ทบทวน และอัพเดทสถานการณ์ และปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างสม�่ ำเสมอ จัดท� ำแผนธุรกิจเพื่อรองรับสถานการณ์ที่หลากหลาย (Scenario Planning) ในสถานการณ์ระดับราคาวัตถุดิบต่างๆ รองรับและลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคตอย่างทันท่วงที มุ่งเน้นการก� ำหนดมาตรการที่สร้างความยืดหยุ่นและสร้างทางเลือก (Flexibility and Optionality) ในด้านตลาดและผลิตภัณฑ์ ให้บริษัทฯ สามารถปรับเปลี่ยนธุรกิจได้อย่างคล่องตัวในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน เพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านยอดขาย และก� ำไร บริหารจัดการสายโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ที่มี ประสิทธิภาพ โดยมีการวิเคราะห์สถานการณ์และคาดการณ์ความเสี่ยง ร่วมกับคู่ค้า สร้างความสัมพันธ์กับคู่ค้ารายส� ำคัญ รวมทั้งการเพิ่ม จ� ำนวนคู่ค้าที่มีศักยภาพภายในภูมิภาค ความล้มเหลวในการลดผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Failure to Mitigate Climate Change) ความล้มเหลวของมาตรการการจัดการ ด้านเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ ทั้งภาครัฐและเอกชน ส่งผลให้ระดับก๊าซ เรือนกระจกยังคงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและ เป้าหมายในการจำ �กัดภาวะโลกร้อนให้อยู่ที่ 1.5 องศาเซลเซียส รวมถึงลดผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจไม่ประสบความสำ �เร็จ ซึ่งจะส่งผลให้ วิกฤตสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ของสังคม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ทวีความรุนแรง มากยิ่งขึ้น รวมถึงอาจส่งผลกระทบต่อ ภาพลักษณ์ของบริษัทฯ ในฐานะของผู้ผลิต เคมีภัณฑ์ชั้นนำ �ของโลก ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาในการประเมินโอกาสการเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติในอนาคต และคาดการณ์ผลกระทบทั้งต่อทรัพย์สินและการ ด� ำเนินธุรกิจของบริษัท ฯ เพื่อเตรียมการรองรับสถานการณ์ความเสี่ยง ภายใต้สถานการณ์ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น โดยได้ด� ำเนินการตาม มาตรฐานสากล ภายใต้กรอบของ Task Force on Climate-related Financial Disclosures (TCFD) ติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง และบริหารความเสี่ยงด้านการจัดการน�้ ำ อย่างยั่งยืนผ่านคณะท� ำงานเตรียมความพร้อมรับมือภัยแล้ง (Water Management Taskforce) โดยผลักดันโครงการต่างๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต ตลอดจนการหาแหล่งน�้ ำ ส� ำรองเพื่อให้มั่นใจว่าจะมีน�้ ำเพียงพอต่อการเดินเครื่องของโรงงาน ปัจจุบัน รวมถึงรองรับโครงการในอนาคต การฝึกซ้อมแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ในสถานการณ์สมมุติ ที่แตกต่างกันไป ติดตาม ประเมินผลกระทบและโอกาสจากนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ทั้งระยะสั้น และระยะยาว จัดท� ำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร เพื่อใช้ก� ำหนดแนวทาง ในการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกของบริษัทฯ มุ่งมั่นด� ำเนินงานตามแผนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือ Decarbonization Roadmap ที่ก� ำหนดไว้ เพื่อลดผลกระทบ และ สร้างผลกระทบเชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ 96
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=